ข่าวประจำวัน » ข่าวเด่น » #ดร.กมล หนุนแนวคิด !! ราชประชาสมาสัยสังคมธรรมาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข

#ดร.กมล หนุนแนวคิด !! ราชประชาสมาสัยสังคมธรรมาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข

13 January 2018
924   0

ดร.กมล กมลตระกูล อนุกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ได้โพสข้อความระบุว่า ตามโรดแม๊ปของ ค.ส.ช. และรัฐธรรมนูญ ปี 2560 ประเทศไทยอาจจะมีการเลือกตั้งในปี 2561 นี้ แม้ว่าจะมีการเลือกตั้ง แต่จะเรียกว่ามีหรือเป็นประชาธิปไตยหรือไม่ เป็นอีกประเด็นหนึ่ง
ระบอบการปกครองในทุกยุคทุกสมัยถูกสร้างขึ้นมาโดย
มเพื่อปกป้องและรักษาผลประโยชน์ของตน ระบอบประชาธิปไตยก็เช่นเดียวกัน
ระบอบประชาธิปไตยของจีนเป็นระบอบที่น่าสนใจและน่าศึกษา

การปกครองของประเทศจีนถูกเรียกหรือกล่าวหาในชื่อต่างๆกันแล้วแต่ทัศนคติและอคติของผู้ที่กล่าวถึง เช่น ระบอบเผด็จการ ระบอบคอมมิวนิสต์ ระบอบสังคมนิยม ระบอบประชาธิปไตยรวมศูนย์ ฯลฯ แต่ไม่ว่าจะถูกเรียกชื่อว่าหรือถูกกล่าวหาอย่างไรก็ตาม แก่นแท้ของระบอบการปกครองของจีนที่นำความเจริญมาสู่ประเทศได้อย่างน่ามหัศจรรย์ คือ ” ระบอบประชาธิปไตยเพื่อสังคมอย่างมีส่วนร่วม (Social Consultative Democracy) ”
ขอให้เรามาเปิดใจเรียนรู้ร่วมกันว่า แก่นแท้ของระบอบนี้คืออะไร และในทางปฏิบัติได้ดำเนินการกันอย่างไร จะนำหลักการมาใช้กับประเทศไทยได้หรือไม่?

สี จิ้นผิงกล่าวว่า “ ถ้าประชาชนมีเพียแค่สิทธิไปลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง แต่ไม่มิสิทธิในการมีส่วนร่วมอย่างทั่วด้าน หรือกล่าวอีกนัยหนึ่ง เขาตื่นขึ้นมาเฉพาะเมื่อเวลาลงคะแนนเสียง และเวลาที่เหลือของเขาคือเวลานอน นี่ คือ ระบอบประชาธิปไตยเศษสตางค์ (Token Democracy) “ ( XI 2017)
“ ระบอบประชาธิปไตยเพื่อสังคมของจีน มี 2 ด้าน เหมือนเหรียญ คือ ด้านหนึ่ง เป็นสิทธิในการลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง ส่วนอีกด้านหนึ่ง ที่อยู่ด้วยกัน คือ ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการปรึกษา หารือ อภิปราย โต้แย้งอย่างทั่วด้านเพื่อ หาข้อสรุปในเวลาก่อนและระหว่าง การตัดสินใจทางการเ
โยบาย โดยยึดถือผลประโยชน์ของประชาชน เพราะประชาชนคือเจ้านายของประเทศ ”

“ ระบอบประชาธิปไตยเพื่อสังคมอย่ามีส่วนร่วม ได้นำมาใช้อย่างทั่วด้านและทุกเวลา ทั่วประเทศในทุกภาคส่วน ในด้านการบริหารองค์กร หน่วยงาน ทั้งของรัฐทุกระดับและเอกชนด้วย คือ การมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบาย การบริหารจัดการ การมีส่วนร่วมในการด้านการตรวจสอบ ภายในองค์กรและหน่วยงาน”

บทบาทของพรรคฯและรัฐบาล คือ การขยายช่องทางการมีส่วนร่วมไปยังพรรคการเมืองอื่นๆ องค์กรชุมชน องค์กรประชาสังคม รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานของรัฐทุกระดับ องค์กรทางสังคม และ องค์กรมันสมองของชาติ ในด้านประเด็นและกิจกรรมทางทางการเมือง การออกกฎหมาย และการแก้ปัญหาในชุมชนหรือการพัฒนาชุมชน โดยผ่านการนำเสนอโครงการ การประชุมสัมมนา การเสวนาอภิปราย การทำประชาพิจารณ์ การเสนอข้อเรียกร้อง การประเมินผล และทางอินเตอร์เนต รวมทั้งช่องทางอื่นๆ
ด้วยวิธีการเหล่านี้เป็นการเสริมสร้างประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและการทำงานอย่างเป็นวิทยาศาสตร์ เพราะหัวใจสำคัญของระบอบประชาธิปไตยเพื่อสังคมอย่างมีส่วนร่วมอิงอยู่กับประชาชน เพื่อผลประโยชน์ของประชาชน

โจว เอิน ไหล กล่าวว่า “ การประชุมปรึกษาหารือหรือระบบประชาพิจารณ์ คือจิตวิญญาณของระบอบประชาธิปไ
ใช่การลงคะแนนเสียงในตอนลงท้าย แต่ การปรึกษาหารือและการประชาพิจารณ์ซ้ำแล้วซ้ำอีกทั้งก่อนและหลังการตัดสินใจต่างหากคือ ระบอบประชาธิปไตยเพื่อสังคมอย่างมีส่วนร่วม “
การมีส่วนร่วม คือ ประชาชนเป็นผู้กลั่นกรองสรรหาคัดเลือกเสนอชื่อผู้แทนเพื่อเข้าแข่งขันรับการเลือกตั้งเข้าสู่สภา หรือเข้ารับการคัดเลือกเป็นสมาชิกพรรคฯในทุกระดับ มิใช่พรรคหรือหัวหน้าพรรคการเมืองเป็นผู้ชี้ตัวผู้สมัครเข้ารับการเลือกตั้งเหมือนในประเทศอื่นๆ
ในระบอบการปกครองของจีน เมื่อมีปัญหาหรือมีนโยบายเกิดขึ้น ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมดจะมาประชุมหารือกันเพื่อหาข้อสรุปร่วมกัน สังคมทั้งหมดคือใจกลางของระบอบประชาธิปไตยเพื่อสังคม
ประชาธิปไตยทั้ง 2 ด้านนี้ ไม่ได้ขัดแย้งกัน แต่เสริมพลังให้กัน เป็น กระดูกสันหลังของสถาบันที่สร้างความเข้มแข็งให้กับระบอบประชาธิปไตยเพื่อสังคม (So
mocracy)
สี จิ้นผิง ย้ำว่า การหลับหูหลับตาเลียนแบบหรือก๊อบปี้ระบอบการเมืองของประเทศอื่นมาใช้นั้น ใช้ไม่ได้กับประเทศจีน ไม่สอดคล้องกับลักษณะเฉพาะของจีน การทำเช่นนั้นจะเป็นการ “ เปลี่ยนความเป็นเสือที่เราต้องการจะเป็น ให้กลายเป็นลูกหมา” ไม่เพียงแค่นั้น มันอาจจะนำสู่การล่มสลายของความเป็นประเทศที่เป็นอิสระเสรีขอ< r>มีแต่เพียง ระบบและระบอบที่วางอยู่บนรากที่หยั่งลึกและพัฒนาเติบโตขึ้นมาบนผืนแผ่นดินนี้เท่านั้นที่สามารถไว้วางใจได้ว่าจะรับใช้ผลประโยชน์ของประชาชน
สี จิ้นผิง ชี้ว่าไม่มีระบอบการเมือง ในแต่ละประเทศในโลกนี้ที่มีลักษณะเห
r>ย่างร้อยเปอร์เซ็นต์ และไม่มีระบอบการเมืองหนึ่งใดที่สามารถนำไปใช้ได้อย่างเหมาะเหม็งกับทุกๆประเทศได้
ประชาชาติจีนตระหนักถึงธรรมชาติของความแตกต่างของสรรพสิ่ง ทุกประเทศมีความแตกต่างกันตามลั

วามเป็นจริง ทุกประเทศมีระบอบการเมืองที่มีลักษณะเฉพาะ ซึ่งตัดสินโดยประชาชนบนพื้นฐานของประวัติศาสตร์ของชาติ วัฒนธรรม ประเพณี สังคม และขั้นตอนการพัฒนาของเศรษฐกิจ

ปรัชญาเบื้องหลังความสำเร็จของ ระบอบประชาธิปไตยเพื่อสังคมอย่างมีส่วนร่วมของจีน

รัฐบาลจีนยึดหลักการอย่างแน่วแน่ว่า การเมืองของจีนต้องพัฒนาตามลักษณะและเงื่อนไขเฉพาะของประเทศและโดยประชาชนจีน อิสร
ละการ
ตนเองได้ ความอยู่ดีกินดีของประชาชนเป็นจุดยืนและยังคงเป็นจุดยืนพื้นฐานที่เหนียวแน่นของชาติ ประเทศอื่นอย่าได้คาดหวังว่าประเทศจีนจะยอมเป็นข้ารับใช้หรือรับคำบงการหรือยอมรับอะไรที่จะม
br>ประโยชน์ของชาติจีน
นี่คือปรัชญาพื้นฐานที่วางรากฐานในการพัฒนาทุกด้านรวมทั้งการพัฒนาทา
เมือง
ปรัชญาในการจัดการการปกครอง (Governance) คือ “อำนาจของรัฐทั้งปวงเป็นของประชาชน ( All power of the s

ongs to the people) ซึ่งค้ำประกันไม่เพียงแค่โดยการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งตามกฎหมาย แต่รวมถึงการตัดสินใจใน
ายและการดำเนินการของรัฐอย่างเป็นประชาธิปไตยที่มีส่วนร่วม การบริหารจัดการอย่างเป็นประชาธิปไตยที่มีส่วนร่วม การควบคุมดูแลบังคับบัญชาอย่างเป็นประชาธิปไตยที่มีส่วนร่วม และการปฏิบัติตามคำมั่นสัญญาที่ให้ไว้ก่อนการลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง
สี จิ้นผิง กล่าวว่า “รัฐบาลต้องเป็นผู้นำในการพัฒนาระบอบประชาธิปไตยเพื่อสังคมอย่างมีส่วนร่วม โดย การค้ำประกันและสนับสนุนบทบาทของประชาชนที่เป็นนายของประเทศ( Master of the country)”
นี่ไม่ใช่เป็นเพียงคำขวัญหรือคำโฆษณาที่
ปล่า แต่ต้องทำให้เกิดขึ้นจริงในกิจกรรมทางการเมืองและทางสังคม โดยการค้ำประกันสิทธิของประชาชนในการเข้าไปมีส่วนบริหารจัดการกิจการของรัฐ เศรษฐกิจ วัฒนธรรมและสังคมอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อผลประโยชน์ของประชาชนตามที่กฎหมายกำหนด< ะบอบการเมืองกำหนดและ นอ นฐานของสภาพเศรษฐกิจและสังคม และเป็นตัวชี้ขาดของการพัฒนาชาติ

รัฐธรรมนูญของจีนไ
ไว้ “อำนาจรัฐทั้งปวงเป็นของประชาชน กลไกรัฐและข้ารัฐการทั้งหมดต้องทำงานบนพื้นฐานที่ได้รับการสนับสนุนของประชาชน ทำงานใกล้ชิดกับปร
น รับฟังความเห็นและคำแนะนำของประชาชน ยอมรับการตรวจสอบของประชาชน และทำงานหนัก อย่างขยันขันแข็งกระตือรือร้นเพื่อรับใช้ประชาชน”การออกกฎหมายทุกฉบับต้องออกมารองรับหลักการระบอบประชาธิปไตยเพื่อสังคมอย่างมีส่วนร่วม นี้ ซึ่งเป็นเจตจำนงค์ของประชาชน อนาคตทางการเมืองของประเทศขึ้นอยู่กับการสนับสนุนของประชาชนสี จิ้นผิง ตอกย้ำว่า “ ระบอบประชาธิปไตยไม่ใช่ใช้เป็นเครื่องประดับ แต่ใช้เพื่อแก้ปัญหาที่ประชาชนต้องการให้แก้”“คว
ดีของประชาชนคือเป้าหมายถาวร ความยากจนไม่ใช่ลักษณะของประชาธิปไตยเพื่อสังคม ประชาธิปไตยเพื่อสังคมหมายถึงการกำจัดความยากจน ถ้าหากว่าภาคการผลิตและมาตรฐานคุณภาพความเป็นอยู่ของชีวิตประชาชนไม่ได้รับการพัฒนาให้ดีขึ้น ก็ไม่
าคุณกำลังสร้างประชาธิปไตยเพื่อสังคม หรือสร้างชาติ ”อ้างอิง : Xi Jinping(2017). The Governance of China. Beijing, Foreign Language Press C0.Ltd.

ดร.อาทิตย์ อุไรรัตน์ อธิกาบดีมหาวิทยาลัยรังสิต โพสว่า ใช่เลยครับ ราชประชาสมาสัยสังคมธรรมาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขก็มีปรัชญาแนวคิดเช่นเดี
เป้าหมายให้ประชาชนอยู่ดีกินดี มีความเป็นธรรม มีส่วนร่วมในปรปไตยตลอดเวลา ไม่ใช่เฉพาะการเลือกตั้ง นโยบายมุ่
คมโดยพระมหากษัตริย์เป็นผู้ดูแลสูงสุดให้ประชาชนได้ในสิ่งที่ต้องการ

สำนักข่าววิหคนิวส์