ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยนายก 8 ปี นั้น
การตีความตามรัฐธรรมนูญ ปี 2560 ต้องตีความตามลายลักอักษร
ทั้งนี้รัฐธรรมนูญ 2560 มาตรา 264 นั้น ไม่ได้ระบุว่าให้รัฐธรรมนูญ (ฉบับชั่วคราว) ปี 2557 มาใช้ด้วย นั้น
เนื่องจาก ขณะนั้นยังเป็นอำนาจ ของ คสช. รัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวในปี 2557 ได้มีการแก้ไขรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวนี้ ยังไม่มีผลบังคับตามกฏหมาย
ด้วยเหตุดังกล่าว การประกาศแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี ผู้รับสนองพระราชโองการ คือนายชวน หลีกภัย ประธานสภาผู้แทนราษฎร์ ใด้ประกาศว่าที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภาให้ลงมติ เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน 2562 และประกาศใช้ เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2562 นั้น
แม้ว่าศาลรัฐธรรมนูญจะรับคําร้อง”ปมนายกรัฐมนตรี 8 ปี ”ไว้พิจารณาตามมาตรา 210 (
เพื่อพิพากษาก็ตาม ขบวนการพิจารณาของศาลก็ต้องดำเนินการไปตามรัฐธรรมนูญที่ประกาศใช้ หากจะให้ศาลรัฐธรรมนูญ มีอำนาจครอบจักวาลต้องแก้ไขกฎหมาย
ทั้งนี้ใจความสำคัญของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 256 (9)
ให้อํานาจศาลรัฐธรรมนูญ ตรวจสอบในทางเนื้อหาของ
รัฐธรรมนูญ”เขัดกฎหมาย”หรือไม
ศาลรัฐธรรมนูญไม่มีอํานาจพิจารณากระบวนการในการแก้ไข รัฐธรรมนูญในลักษณะเดียวกันกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 148 วรรคสามแต่อย่างใด
ศาลรัฐธรรมนูญก็ต้องพิจารณาใจความสำคัญและเนื้อหาแห่งรัฐธรรมนูญปี 2560 แล้ว วินิจฉัยว่านายกรัฐมนตรีสามารถอยู่ต่อได้ตามรัฐธรรมนูญ ถึงปีปีไหน หากตุลาการศาลรัฐธะรมนูญวินิจฉัยว่า นับตั้งแต่ปี 2560 นายกรัฐมนตรีก็จะสิ้นสุดการเป็นนายกรัฐมนตรี ในปี 2568
พลเอกประยุทธ จันทร์โอชา สามารถใช้สิทธิตามกฏหมายกับตุลาการศาลรัฐธรรมนูญได้ แม้บ่อเกิด แห่งรัฐธรรมนูญจะบัญญัติในปี 2560 ก็ต้องพิจารณาว่า คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบเมื่อใด และประกาศใช้เป็นกฏหมายเมื่อใด
เมื่อประธานสภาผู้แทนราษฎร์ ใด้ประกาศว่าที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภาให้ลงมติ เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน 2562 และประกาศใช้ เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2562
ก่อนหน้านั้น ตราบใดที่คณะรัฐมนตรียังไม่เห็นชอบ ย่อมไม่มีผลเป็นกฏหมาย นั้น เป็นไปตามบรรทัดฐาน ของคณะกรรมการกฤษฎีกาคณะ10 ว่ากฏหมายมีผลบังคับเมื่อประกาศใช้
ดังนั้นการสิ้นสุดการเป็นนายกรัฐมนตรีของพลเอกประยุทธ จันทร์โอชา ในวันที่ 9 มิถุนายน 2570
ดร.สุกิจ พูนศรีเกษม