ข่าวประจำวัน » ข่าวเด่น » #ลุงพล รอด ? ! ดร.สุกิจ ยัน บ้านกกกอก ศาลคงไม่ทุบทิ้ง

#ลุงพล รอด ? ! ดร.สุกิจ ยัน บ้านกกกอก ศาลคงไม่ทุบทิ้ง

11 February 2021
504   0

ผู้ใหญ่บ้าน กกกอด ผิดตามประมวลกฎหมายอาญา ที่เกิดจากการกล่าวโทษหรือไม
__________\\\\\\\ \\\\_________

ศึกษากรณี ผู้ใหญ่บ้าน กกกอด จังหวัดมุกดาหาร โดย ดร.สุกิจ พูนศรีเกษม นักวิชาการด้านกฏหมาย

กรณีท่านประธานชมรมแห่งหนึ่งย่านประแดง ประวัติการศึกษา เรียนวิศวกร ย่านบางแคถนนเพรชเกษม ปัจจุบันเป็นนักศึกษาวิชากฏหมายที่มหาวิทยาเอกชนแห่งหนึ่งย่านคลองประปา ได้ให้ข้อมูลกับประชาชนว่า จะจัดคดีให้ผู้ใหญ่บ้าน “กกกอด”อีกคดีหนึ่ง โดยมีภาพตัดต้นไม่ในเขตป่า ที่บ้านลุงพล

อยู่อาศัย ผู้ใหญ่บ้านไม่ดำเนินใดๆให้เป็นไปตามกฏหมายย่อมมีความผิดตามประมวลกฏหมายอาญามาตรา 157 นั้น ต่อกองบังคับการป้องกันปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ(บก.ปปป.)นั้น

ทำได้หรือไม คำตอบ สามารถทำได้ครับ แต่ผู้กล่าวโทษต้องคำนึ่งถึงผลกระทบด้วยต้องเข้าใจว่า “ตำรวจ”นั้นไม่ใช่ศาล

เมื่อรับแจ้งแล้วขบวนการยุติธรรม ปปท หรือ ปปช จะต้องตั้ง อนุกรรมการไต่สวน ตำรวจไม่มีอำนาจสอบสวนในความผิดตามประมวลกฏหมายอาญามาตรา 157 ชึ่งผู้ถูกกล่าวหาเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐกระทำผิดตาม พรบป่าสงวนแห่งชาติ

ตำรวจ มีหน้าที่ต้องส่งคำกล่าวโทษ ไม่ยัง ปปช.เพื่อให้ ปทท.ดำเนินการโดยตรง. ตามกฏหมาย ปปช.ที่แก้ไขใหม่ ภายใน 30 วัน จะอ้างว่าไม่รู้กฏหมายเพื่อปฎิเสธความรับผิดนั้น หาได้ไม

ที่นี้เรามาพูดถึง เมื่อมีการกล่าวโทษ ผู้ใหญ่บ้านกระทำผิดในฐานะเป็นเจ้าพนักงานของรัฐ ตามประมวลกฏหมายอาญามาตรา 157 เมื่อมีการตัดไม้ในป่าตามภาพถ่ายที่สื่อมวลชน นำเสนอข่าวในความผิดตามพระราชบัญญัติป่าไม้ นั้น.

ก่อนหน้านั้น ตำรวจป่าไม้ รับคำกล่าวโทษ ของ ชมรมแห่งหนึ่ง โดย ตำรวจป่าไม้ ดำเนินคดีกับลุงพล และมีการจับกุมคุมขังลุงไว้ และอนุญาตให้ประกันตัวนั้น เป็นความผิดเกี่ยวพันกันผู้ใหญ่บ้าน”กกกอด”ชึ่งเป็นเจ้าพนักงานของรัฐ ร่วมกระทำความผิดหรือเป็นผู้สนับสนุน การกระทำผิดของลุงพล โดยผู้ใหญ่บ้านไม่ดำเนินการใดๆกับลุงพลให้เป็นไปตามกฏหมาย ในฐานะที่เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ. ย่อมมีผลตามกฏหมายว่า เป็นความผิดเกี่ยวพันกัน.

ตำรวจป่าไม้ไม่สามารถรับคดี ไว้สอบสวนเองและดำเนินคดีเองได้ เจตนาของกฏหมายไม่เปิดช่องให้กระทำได้

ทั้งนี้ มูลคดีจึงอยู่ในอำนาจศาลอาญาทุจริต ประพฤติมิชอบ ตำรวจป่าไม้และศาลจังหวัดชั้นต้น ไม่มีอำนาจรับคดีไว้พิจารณา ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลอาญาทุจริตประพฤติมิชอบ พศ.2549 มาตรา 3 อนุ 3 ประกอบมาตรา 8 และมาตรา 9

การที่ตำรวจ ป่าไม้ รับคำกล่าวโทษ ของ ชมรมแห่งหนึ่งชึ่งเป็นบคคลๆเดียวกับการกล่าวหา ผู้ใหญ่บ้าน “บ้านกกกอด”. โดย ตำรวจป่าไม้ ดำเนินคดีกับลุงพล และให้ประกันตัวนั้น เมื่อข้อเท็จจริงปรากฏในภายหลังการกระทำนั้น ย่อมเป็นการผิดหลง ตามประมวลกฏหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 27

ตำรวจป่าไม้ ต้องอาศัยอำนาจตามประมวลกฏหมายอาญามาตรา 15. ประกอบกับวิธีพิจารณาความอาญาในคดีทุจริตและประพฤติมิชอบพศ.2499 มาตรา 6 ให้เพิกถอนคำสั่งอนุญาตให้ลุงพล ประกันตัวในชั้นสอบสอบนั้นเสีย และ.คืนหลักประกันให้ลุงพลไปโดยผลของกฏหมายที่ให้อำนาจไว้

แล้วส่งสำนวนการสอบสวนที่เกิดจากการกล่าวโทษไปยัง ปปช เพื่อให้ ปปท.ตั้งอนุกรรมการไต่ส่วน เพื่อชี้มูลความผิด ตำรวจป่าไม้ไม่มีอำนาจจับและกุมขังหรือให้ลุงพลประกันตัวได้ ก่อน ปปท จะตั้องอนุกรรมการไต่สวน “ผิดหรือไม่ผิดยังไม่รู้ เลย

ตำรวจป่าไม้ต้องปฎิบัติ. ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลอาญาทุจริต พศ.2499มาตรา 10 หากตำรวจป่าไม่ยังดำเนินการต่อไป โดยไม่มีกฏหมายรองรับอำนาจไว้. “ย่อมมีความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ทางราชการอันเป็นกฏหมายโดยเฉพาะ และกฏหมายอื่นเกี่ยวกับเสรีภาพ

มีตัวอย่างคำสั่งหรือคำพิพากษาของ”ศาลอาญา “หลายคดีเป็นแนวทาง และตัวอย่างพนักงานอัยการมีคำสั่งไม่รับคดีที่ตำรวจกองปราบ มีความเห็นสั่งฟ้องไปยังพนักงานอัยการ เช่น คดีนายแผน หวยสามสิบล้าน ที่มีเจ้าหน้าที่ของรัฐร่วมกระทำผิดด้วย แต่อัยการไม่เอาด้วยคืนสำนวนให้ ปปช ดำเนินการไปตามอำนาจหน้าที่ รูปคดีนี้จึงไม่มีอะไรแตกต่างกัน

ปปช.มีมาตราฐานการตั้งอนุกรรมการไต่สวน โดย ผู้กล่าวโทษ เห็นตามสื่อ ต้องยืนยันข้อเท็จจริงอันเป็นองค์ประกอบของความผิดด้วย เพื่อรับฟังประกอบ นโยบายรัฐด้วย. เมื่อ รัฐบาลกับเจ้าหน้าที่ป่าไม้จัดที่ดินให้ประชาชนทำกินและสร้างบ้าน ปักปันแนวป่าไว้ชัดเจน ผู้ใดบุกรุกตัดต้นไม้ ยึดครอง สร้างบ้านในแนวป่าผิดกฎหมาย

ส่วนเขตที่ทำกิน ประชาชน แม้ตามแนวฎีกายังไม่สภาพเป็นป่า ก็สามารถ ตัด ถากถาง ขุดต้นไม้ออกได้เพื่อสร้างบ้าน เพาะปลูกพืชต่างๆ นอกเขตป่านั่นทำเหมือนกันหมดไม่ผิดกฎหมาย เจตนาของกฏหมายนั้น ต้องดูที่เจตนา. อันเป็นองค์ประกอบของความผิดด้วย

ต้นไม้ที่ลุงตัดอยู่ในที่ดินครึ่งไร่ของเขาไม่ผิด เป็นกิ่งของกระถินป่า มีประวัติของกรมป่าไม้พื้นที่ ที่แตกกิ่งจำนวน 3 ถึง4 กิ่งจากต้นใหญ่ซึ่งคงถูกตัดนาน 20 ปีแล้ว ลุงยิ่งไม่ผิด ไม่รู้จับคนตัดต้นไม้ก่อนที่กรมป่าไม่ อนุโลมให้เกตรกรทำกิน และอยู่อาศัย นอกเขตป่าสมบูรณ์ได้หรือยัง ชมรมต้องเป็นฝ่ายพิสูจน์

หากคดีขึ้นสู่ศาล ถ้าได้ความว่า ผู้ครอบครองเดิม ให้ประชาชนในหมู่บ้านแบ่งปันที่ดินกันได้ จ่ายเงินหรือไม่ก็ได้ ลุงไม่ผิดอีก การสร้างพญานาคซึ่งใช้พื้นที่ไม่ถึง 50 ตรว.นั้น ลุงอยู่ในหลักเกณฑ์เป็นเกษตรกร ที่กรมป่าไมอนุโลมให้ทำกิน

ผิดหรือไม่อยู่ที่ศาลตัดสิน ศาลจะดูภาพรวมว่าพญานาคมีประโยชน์ต่อประชาชนในท้องถิ่น ต่อเศรษฐกิจและประเทศหรือไม่ ถ้ามีประโยชน์ก็ให้ผู้สร้างไปขอย้อนหลังต่อป่าไม้ก็จบ

ถ้าศาลเห็นไม่มีประโยชน์ลุงพลอาจผิด(อันนี้อยู่ที่ประชาชนบทาน”กกกอด”ที่จะไปเป็นพยานศาล) ชึ่งแต่ก่อน ชุมชนบ้านกกกอดเป็นหมูบ้านที่ไม่มีใครรู้จัก ลุงมาบุกเบิกให้ราษฎร์มีท่ีทำกิน และเป็นหน้าตาของจังหวัด. และฝายปกครองพื้นที่ ไม่มีการกระทำที่ผิดกฏหมายเกี่ยวกับเรื่องยาเสพติด เป็นการป้องกันอาชกรรมอย่างหนึ่ง ชึ่งเป็นประโยชน์ต่อสังคม

ตอนนี้พญานาคสร้างเสร็จแล้ว ศาลคงไม่กล้าสั่งทุบ ฝ่ายรัฐบาลต้องขอมติครม.ว่าจะทุบ หรือไม้ เชื่อว่าไม่กล้าทุบเพราะมีประโยชน์

อนาคตลุงพล ถ้าไม่ได้ทำร้ายน้องชมพู่ ก็รอวันแจ่มใสอีกไม่นาน ถึงตอนนั้นคนกล่าวหาลุงคงเงยหน้ามองตาผู้คนลำบาก “กรรมจึงเป็นเครื่องชี้เจตนา จึงเป็นกรณีศึกษา

ดร.สุกิจ พูนศรีเกษม