อุทัย พิมพ์ใจชน อดีตประธานรัฐสภา ได้เขียนบทความระบุว่า
ข่าวการเมืองได้ยินอยู่ประจำทุกวันนี้ คือ สภาถ่มอีกแล้ว สภาล่มแล้วล่มอีก ผมได้ยินได้ฟัง แล้ว ทำให้ผมนึกถึงการเมืองในอดีต ที่ผมดำรงตำแหน่งเป็นประธานสภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ 2 สมัยเดียวกับที่ท่น พอ.อ. เปรม ติณฐถานนท์ เปืนนายกรัฐมนตรี (ประมาณ พ.ศ. 2526) มีอยู่
ลาหนึ่งในเวลานั้น (ประมาณ พ.ศ.2529) สภาพการเมืองในเวลานั้น ก็ไม่ต่างกับสภาพก ในปัจจุบัน คือ เปีดประชุมสภาทีไรด้องคอยแล้วคอยอีกกว่าจะครบองค์ประชุม ครบองค์ประชุมแล้ว ประชุมไปๆ ก็ดีรวนกันไป หาสาระชัอยุติไม่ใด้ กม. ของรัฐบาลเองก็เสื่อนแล้วเลื่อนอีก พอจะลงมดิ
ก็ไม่ครบองค์ประชุม ต้องเลิกประชุมหรือเถื่อนประชุม รัฐบาลตกอยู่ในสภาพเป็ดง่อย ไม่ต่างจาก
สภาพสภาปัจจุบัน อยู่มาวันหนึ่งก่อนการประชุม พล.อ. เปรม ติณสูลานนท์ นายกฯ ในสมัยนั้น ได้เข้ามา
พบผม และถามผมว่า สภาเป็นอย่างนี้จะแก้ไขอย่างไร? เหมือนโยนการบ้านมาให้ผมในฐานะหัวหน้า
ส. ในสภา มีหน้าที่ควบคุมการประชุมสภา เพื่อแก้ปัญหา ผมก็ตอบท่านไปว่า สภาพสภาขณะ ถ้าเปลี่ยนรูปธรรมเป็นคน ก็เหมือนคนเป็นใช้ ไม่หนักหนาสาหัสถึงส้มหมอนนอนเสื่อหรอก เป็นแค่
ปวดหัวตัวร้อน ถ่ายยาเสียก็หาข ท่านถามผมว่า “ถ่ายยา” คืออะไร? ผมก็ตอบไปว่า ถ่ายยา คือ
“ยุบสภา” ท่านก็นิ่งไป ไม่ได้พูดอะไรกันอีก ซึ่งขณะนั้นอายุสภายังเหลืออยู่อีกปีกว่า ถ้ายุบสภา
ก็หมาขถึงผมต้องพันจากตำแหน่ง ส.ส. และประธานสภา นายกก็พันจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
เช่นเดียวกัน ไม่ทราบท่านนายกจะคิดถึงเรื่องนี้หรือเปล่า? ต่อมาอีก 15 วัน ถ้จำไม่ผิด เรามีโอกาส
พบกันอีก ท่านถามผมว่า “ท่านประธาน ยุบสภามันจะดีหรือ?” ผมตอบท่านทันทีว่า “ท่านนายก
ถ้จำเป็นก็ต้องทำ” ท่านก็เงียบอีก หลังจากนั้นอีก 7 วันต่อมา นายกรัฐมนตรีก็ประกาศยุบสภาดาม คำแนะนำของผมทันที ทั้ง พล.อ.เปรม ดิณสูถานนท์ และผมนายอุทัย พิมพ์ใจชน ต้องพันจากตำแหน่ง ฟันพี ซึ่งยังเหลือเวลาในตำแหน่งอีกปีกว่าทั้ง ต้องขอมรับว่า พด.อ.เปรม เป็นผู้มีความกล้าหาญทาง การเมืองอย่างแท้จริง คือ กล้าประกาศยุบสภาทั้งที่รู้ตัวเองว่าจะพันจากคำแหน่งอันมีอำนาจ นับว่า
เป็นการกระทำที่เสียสละเพื่อเห็นแก่บ้านเมืองจริงอย่างแท้จริง
เพราะฉะนั้นการที่ใครคนใดคนหนึ่ง จะสมควรพูดถึงว่าเป็นผู้ “เสียสละ” นั้น ต้องดูปัจจัย
ประกอบให้ครบ เพราะมันมีคำว่ทั้ง “เสีย” และทั้ง “สละ” อยู่ด้วยกัน ในคำเดียวกัน กรณีนี้ที่เรียกว่า
พล.อ. เปรม ติณสูลานนท์ เป็นผู้เสียสละ ได้ เพราะท่านยอมประกาศยุบสภา ผลต้อง “เสีย” ตำแหน่ง
นายกรัฐมนตรี และต้อง “สละ” อำนาจที่มีอยู่ไป เพราะเห็นแก่บ้านเมืองและประชาชนอย่างแท้จริง
ประเทศเรา ยังจะมีนักการเมืองที่มีความกล้าหาญ เห็นแก่บ้านเมือง ไม่เห็นแก่อำนาจวาสนา
อย่าง พล.0. เปรม ติณสูลานนท์ อีกไหมหนอ? หรือจะมีแต่คนที่บอกว่าจะอยู่อีกไม่นาน แต่ก็อยู่นาน
กว่าใคร ๆ ทั้งที่เป็นเป็ดง่อย ตลกขำไม่ออกไปวัน ๆ อย่างทุกวันนี้
(อุทัย พิมพ์ใจชน)
50の.65