ข่าวประจำวัน » ข่าวเด่น » #เจาะลึกคดี !ดร.สุกิจชี้ การขอกันเป็นพยาน หลังจากผู้นั้นตกเป็นผู้ต้องหา ถูกดำเนินคดีอาญากระทำความผิดต่อป่าไม้

#เจาะลึกคดี !ดร.สุกิจชี้ การขอกันเป็นพยาน หลังจากผู้นั้นตกเป็นผู้ต้องหา ถูกดำเนินคดีอาญากระทำความผิดต่อป่าไม้

4 July 2021
510   0

โดย ดร.สุกิจ พูนศรีเกษม นักวิชาการด้านกฏหมาย ศึกษากรณีพยานได้รับค่าตอบแทนไ่มีถูกดำเนินคดีอาญากระทำความผิดต่อป่าไม้

ผมดูรายการทางโซเชียลเน็ตเวิดร์ ยูทูป และเฟสบุ๊คส์ ที่ “ห้อยกับโหน”ได้ออกรายการ ในรายการคลายทุกข์ให้กับตัวเอง ได้นำ”กรรมกร”อ้างตนเองว่ารอบรู้ถึงวิธีการทางกฏหมายได้ทำหนังสือถึงท่านผู้บัญชาการตำรวจภูธรณ์ 4

ขอตำรวจคุ้มครองพยาน โดยมีค่าตอบแทน (แต่ไม่ได้บอกแหล่งที่มา) ได้ปรากฏข้อเท็จจริงตามสื่อโชเชียลถือว่าเป็นความดีความชอบของตำรวจ

ที่ให้การดูแลทุกข์สุขของพยานในคดีสำคัญ หากไม่เป็นความจริง”สิ่งที่ห้อยกับโหน”อ้าง ผู้บัญชาการตำรวจภูธร4 ที่ถูกพาดพิต้องออกมาชี้แจง ประชาชนและสังคมจับตามอง

นอกจากนี้ท่าน”กรรมกร” ยังอ้างอีกว่า มีผู้ต้องหาในคดี”ตัดไม้”ขอเป็นพยาน”ทุกกรณีเหตุ ที่มีการกระทำความผิดเพราะมีผู้อยู่เบื้องหลังในการสั่ง”ให้ทำ นั้น.

วันนี้เราจะมาดูข้อกฎหมาย. กับแนวคำพิพากษาศาลฎีกากันเป็นแนวทาง

ในทางกฎหมาย

การขอกันเป็นพยาน หลังจากผู้นั้นตกเป็นผู้ต้องหา ยังไม่มีระเบียบหรือกฎหมายใดกำหนดหรือวางแนวปฏิบัติไว้ จึงเป็นข้อเสียที่ ผู้ต้องหารายอื่นในคดีอาจใช้เป็นข้อโต้แย้งพนักงานสอบสวนได้ อันนี้หมายถึงผู้ต้องที่ทำผิดด้วยกัน แต่มีค่าตอบแทนไม่ถูกคดี.

ก็ต้องเป็นกรณีเป็นผู้ต้องหาด้วยกันให้การเป็นพยานเพื่อให้ตนเองพ้นผิดกรือได้ประโยชน์จากการชัดทอด อันนี้รับฟังเป็นโทษแก่ผู้กระทำผิดด้วยกันไม่ได้

ในการวินิจฉัยชั่งน้ำหนัก

พยานบอกเล่า”หมายถึง”กรรมกร” ไม่รู้จริง เมื่อได้ยินได้ฟังเขาเล่ามา
หรือทีมกฏหมายที่อยู่ภายใต้กำกับการดูแลของ”กรรมกร”ได้แนะนำในข้อกฏหมายเพื่อเอามัน ทำให้ห้อยกับโหน แสดงความอวดดีรายการ”ประจานความแค้น”ตัวเองแสดงออกต่อบุคคลภายนอก ถึงความวิตกจริต เพื่อทำลายความน่าเชื่อถือของฝ่ายตรงข้ามนั้น มันล้าสมัยแล้ว ท่าน”กรรมกร”

พยานซัดทอด..นั้น หมายถึงผู้กระทำผิดด้วยกัน จะต้องไม่เกิดจากแรงจูงใจให้คำมั่นสัญญา ของพนักงานสอบสวน “แต่ต้องเป็นพยาน
ที่ได้มาด้วยความบริสุทธิ หมายถึง “ต้องไม่เป็นพยานที่มีค่าตอบแทน
ไม่ถูกดำเนินคดี “หรือได้รับประโยชน์เพื่อให้ตนเองพ้นผิด ถือว่าเป็นพยานที่ได้มาด้วยการไม่บริสุทธิ ย่อมที่จะให้การเป็นปฏิปักษ์เพื่อให้ตนเองหลุดพ้นจากความรับผิดในทางอาญาอย่างแน่แท้

จึงไม่ใช่พยานหลักฐานอื่นมีแหล่งที่มาเป็นอิสระ ที่มีค่าเชิงพิสูจน์ที่สามารถให้พยานหลักฐานอื่น รับฟ้องประกอบความน่าเชื่อถือ รูปคดีจึงไม่ใช่เรื่องง่ายอย่างที่คิดเชื่อได้อย่างสนิทใจว่าทางทนายฝ่าย”จำเลย”ต้องคัดค้านกรณีโจทก์อ้าง”จำเลย”ที่ร่วมกันกระทำความผิดเป็นพยาน

หากกรรมกร”เป็นพยานศาลในคดีนี้ ก็คงต้องตอบทนายจำเลยถามค้านว่า “เหตุการที่เกิดขึ้นทั้งหมดนั้น พยานเห็นกับ”หู” หรือเห็นแก่”ตา”ที่มีต่อกระแสสังคม “ พยานกับจำเลยหากมีสาเหตุโกรธเคืองกันมาก่อน ย่อมรับฟังเป็นโทษไม่ได้ คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2789/2558

จึงเป็นกรณีศึกษา

ดร.สุกิจ พูนศรีเกษม