การพัฒนาองค์กร สู่ความเป็นเลิศของมหาวิทยาลัยภาครัฐต่อระดับความสำเร็จ
……………………\\\\\\\\\ …………………………
โดยดร.สุกิจ พูนศรีเกษม นิติศาสตรดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง
ผู้นำองค์กร จะต้องเสริมสร้างและพัฒนาบุคลากรในสังกัดให้ได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับวินัยลึกซึ่งยิ่งขึ้น อันเป็นการส่งเสริมให้ มหาวิทยาลัยภาครัฐ เป็นองค์กรเรียนรู้ และเพื่อให้บุคลากรในสังกัด
มาเป็นกรณีศึกษา เป็นอุทาหรณ์ในการปฏิบัติตนโดยยึดถือวินัยอย่างเคร่งครัด อันเป็นการป้องกัน ระงับ ยังยั้ง
การกระทำผิดวินัยของบุคลากร ต่อระดับความสำเร็จ ดัง
พระบรมราโชวาท พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ “ วินัย แท้จริงมีอยู่สองอย่าง อย่างหนึ่งคือวินัยตามที่ทราบกันและถือกัน อันได้แก่ข้อปฏิบัติที่ บัญญัติไว้เป็นกฎหมายหรือระเบียบข้อบังคับต่างๆ ให้ถือปฏิบัติ
อีกอย่างหนึ่งคือวินัยในตนเองที่แต่ละคน จะต้องบัญญัติขึ้นสาหรับควบคุมบังคับให้มีความจริงใจ และให้ประพฤติปฏิบัติตามความจริงใจนั้นอย่าง มั่นคง มีลักษณะเป็นสัจจาธิษฐานหรือการตั้งสัตย์สัญญาให้แก่ตัว วินัยอย่างนี้จัดเป็นตัววินัยแท้ จริง
แต่มีผู้นำองค์กรในภาครัฐ บางส่วน ที่ใช้อำนาจในทางที่ไม่ชอบ จัดการกับ”ขุนพล”ของ “ตนเอง” โดยใช้เจ้าหน้าที่ธุรการ ในสกัดที่ตนเองปั้นมากับมือในการแสวงหาผลประโยชน์ อย่างไร้ยางอายไม่สมกับเป็นลูกผู้ชายที่แท้จริง
องค์กรมหาวิทยาลัยภาครัฐที่มีชื่อเสียงในวงการศึกษาสู่ความเป็นเลิศ ได้แต่งตั้ง บุคคลากรระดับรองคณะบดี ออกคำสั่งให้ลงโทษเจ้าหน้าที่ธุรการในสังกัด ด้วยการพักงาน และตั้งกรรมสอบสวนวินัยที่ร้ายแรง
สำคัญผิด ใช้วินัยของตนเอง ให้บุคคลากรในสกัดที่อยู่ในคาถาของตนเอง ขึ้นเป็นกรรมสอบสวนข้อเท็จจริง เพื่อแหกตา”ขุนพล”ตนเอง”
โดยกระทำด้วยประการใดๆอันเป็นการช่วยเหลือหรือให้ความสดวกแก่ผู้บังคับบัญชาในสังกัดกระทำผิด ก่อนหรือขณะกระทำความผิด
ทำเอกสารอันเป็นเท็จ โดยอาศัยโอกาสที่ตนเองมีหน้าที่ ปลอมขึ้น โดยไม่มีการสอบสวนไม่มีการสั่งพักงานธุรการในสังกัดตามเอกสารคำสั่งที่ท่านรองคณบดี ท่านนั้น และให้ผู้บังคับบัญชาระดับ คณะบดี รับรองหลักฐานอันเป็นเท็จ
ส่งให้”ขุนพล”ตนเอง เพื่อระงับการร้องเรียนต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา และดำเนินคดีกับเจ้าที่ธุระการท่านนั้นโดยอ้างว่า เจ้าหน้าที่ธุระการท่านนั้น มห้การรับสารภาพ ยึงไม่จำต้องสอบสวนข้อเท็จจริงอีกต่อไป นั้น
เมื่อมีการฟ้องคดีเถิดขึ้น เจ้าหน้าที่ธุรการในสังกัด รายงานเท็จ นั้น จะต้องถูกออกจากการเป็นพนักงาน
ดังสุภาษิต ที่ว่า เสร็จนาฆ่าโคถึก เสร็จศึกฆ่าขุนพล แต่ขุนพลผู้นั้นฆ่าไม่ตาย
ผู้นำองค์กร และพนักงานในสังกัด ก็จะถูกดำเนินคดีฐานเป็นผู้ใช้หรือให้การสนุน หรือร่วมกันกระทำด้วยปราการใดๆอันเป็นการให้ความช่วยเหลือให้ให้ความสดวกแก่ผู้นำองค์กร นั้นกระทำผิด ก่อนหรือขณะกระทำความผิด
แม้จะไม่รู้ถึงความช่วยเหลือผู้นำองค์กร ก็มีความผิด โดยมีเจตนาพิเศษ เทียบเคียงคำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4532/2548
ดังนั้น หากผู้นำองค์กร ยึดมั่นพระบรมราโชวาท พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙
ความหมายที่ว่า”สำคัญที่วินัยในตนเองนี้ จะต้องบังเกิดขึ้นจากการที่ได้ยั้งคิดแล้ว ได้ใช้สติปัญญา ความเฉลียวฉลาด พิจารณาไตร่ตรองอย่าง ละเอียดรอบคอบแล้วจนเห็นประจักษ์ในเหตุในผลที่แน่แท้ และเมื่อเป็นวินัยที่กลั่นกรองขึ้นจากสติปัญญา ความฉลาดรอบคอบ ก็ย่อมจะทาให้รู้จักผิดชอบชั่วดี ทรงความศักดิ์สิทธิ์
คุ้มครองป้องกันผู้ปฏิบัติให้พ้น จากภัยอันตรายและเหตุแห่งความเสื่อมเสียทั้งปวงได้ ทั้งทางกายทางใจ พาให้เจริญรุ่งเรือง พร้อมด้วย ศักดิ์ศรี เกียรติ อำนาจทุกปราการ”
กรณีจึงเป็นอุทหรณ์ของผู้นำองค์กรที่ไม่ใช่ลูกผู้ชาย